เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง ‘นิด้าโพล’ เผยผลสำรวจ คนไทยส่วนใหญ่ไม่เอา ‘หนังโป๊’ เสรี

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง ‘นิด้าโพล’ เผยผลสำรวจ คนไทยส่วนใหญ่ไม่เอา ‘หนังโป๊’ เสรี

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง นิด้าโพล เปิดเผยผลสำรวจพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ไม่เอา หนังโป๊ เสรี ชี้ส่งผลเสียต่อเยาวชน พร้อมเผยว่าคนไทยส่วนใหญ่ไม่เคยดู หนังสือโป๊ นิด้าโพล ศูนย์สำรวจความคิดเห็นจาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือ นิด้า ได้เผยแพร่ผลสำรวจของประชาชน ภายใต้หัวข้อ “หนังโป๊เสรี จะเอาหรือไม่” โดยได้ทำการสำรวจในช่วงวันที่ 22-24 พฤศจิกายน จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 1,315 ตัวอย่าง

จากการสำรวจพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ หรือ ร้อยละ 54.14 ไม่เคยดู 

หนังสือโป๊ ส่วน ร้อยละ 45.78 ระบุว่า เคยดู และร้อยละ 0.08 ระบุว่า ไม่ทราบ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ สำหรับการเคยดูหนังโป๊ของประชาชน พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 56.50 ระบุว่า เคยดู ขณะที่ ร้อยละ 43.50 ระบุว่า ไม่เคยดู

ในส่วนของการดูหนังโป๊นั้น ผู้สำรวจส่วนใหญ่ หรือร้อยละ 56.50 ระบุว่าเคยดู ส่วนร้อยละ 43.50 ระบุว่าไม่เคยดู เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอให้สามารถผลิตหนังโป๊ได้อย่างเสรี พบว่า ส่วนใหญ่

ร้อยละ 62.89 ระบุว่า ไม่เห็นด้วยเลย เพราะ ส่งผลเสียต่อเด็กและเยาวชน ทำให้หมกมุ่นกับเรื่องเพศมากจนเกินไป ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธจึงขัดต่อศีลธรรม อันดีงามของประเทศ อาจทำให้เกิดปัญหาอาชญากรรม และการล่วงละเมิดทางเพศเพิ่มมากขึ้น รองลงมา

ร้อยละ 14.15 ระบุว่า ไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะ อาจส่งผลเสียต่อเด็กและเยาวชน ยากต่อการควบคุม อาจเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบ ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธจะให้เปิดเสรีเลยไม่ได้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ควรมีขอบเขต เช่น การจำกัดช่วงอายุ

ร้อยละ 12.55 ระบุว่า ค่อนข้างเห็นด้วย เพราะ ยุคสมัยใหม่ให้การยอมรับ เป็นเรื่องปกติธรรมชาติของมนุษย์ และเป็นสิทธิส่วนบุคคลที่สามารถทำได้ ร้อยละ 7.98 ระบุว่า เห็นด้วยมาก เพราะ สังคมปัจจุบัน เปิดกว้างยอมรับเรื่องเหล่านี้ เป็นเรื่องปกติธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการสร้างอาชีพและรายได้ ขณะที่บางส่วนระบุว่า ถึงไม่เปิดเสรี ก็มีการลักลอบผลิตอยู่ดี

หมอยง ไขสงสัย ‘ไวรัสโอไมครอน’ ติดง่ายกว่าเดิมหรือไม่ อาการรุนแรงไหม

หมอยง ไขข้อสงสัย 10 ข้อ ไวรัสโควิดสายพันธุ์ใหม่ ‘ไวรัสโอไมครอน’ ติดง่ายกว่าเดิมหรือไม่ อาการรุนแรงไหม การเตรียมตัวรับมือกับโอไมครอน (Omicron Covid)

สืบเนื่องจากการค้นพบไวรัสโควิด-19 (โคโรน่าไวรัส) สายพันธุ์ใหม่ องค์การอนามัยโลกตั้งชื่อให้ว่า “โอไมครอน” (Omicron) เป็นไวรัสที่กลายพันธุ์จากแถบพื้นที่แอฟริกา ล่าสุดวันนี้ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ข้อความลงในเฟซบุ๊ก “Yong Poovorawan” ให้ข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสชนิดนี้ ทั้งการแพร่ระบาด อาการ การเตรียมรับมือไว้ว่า

“โควิด 19 สายพันธุ์ใหม่โอไมครอน (Omicron) ยง ภู่วรวรรณ 29 พฤศจิกายน 2564 ขณะนี้ทั่วโลกให้ความสนใจมากกับไวรัสสายพันธุ์ใหม่โอไมครอน ทั้งนี้เพราะการกลายพันธุ์เฉพาะในส่วนหนามแหลม สามารถเก็บจากการกลายพันธุ์ที่เกิดในสายพันธุ์แอลฟา เบต้าและเดลต้า มาแล้วยังเพิ่มตำแหน่งการกลายพันธุ์เพิ่มขึ้นอีก 30 ตำแหน่ง อย่างไรก็ตามสิ่งที่จะต้องตอบคำถามขณะนี้คือ

1. ไวรัสนี้ติดง่ายแพร่กระจายง่ายหรือไม่ จากการดูพันธุกรรมไวรัสนี้ พัฒนาเพิ่มขึ้นจากสายพันธุ์เดลต้า ที่แพร่กระจายง่ายอยู่แล้ว อย่างน้อยการแพร่กระจายของโรคก็ไม่น่าจะน้อยกว่าสายพันธุ์เดลต้า

2. ความรุนแรงของโรคโควิด 19 จากข้อมูล ที่ได้มาจากแอฟริกาใต้เบื้องต้น ในหลายครอบครัว พบว่าสายพันธุ์นี้มีอาการไม่มาก ทั้งในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนแล้วและไม่ได้รับวัคซีน โดยธรรมชาติของไวรัสที่แพร่กระจายง่าย ไวรัสเองก็ต้องการมีชีวิตอยู่ยาวนานหรือแพร่พันธุ์ได้ยาวนาน ในการศึกษาในอดีตสำหรับไวรัสตัวอื่น ที่มีการถ่ายทอดลูกหลานมายาวนาน หรือการเพาะเลี้ยงจากรุ่นต่อรุ่นไปยาวๆ จะพบว่าความรุนแรงจะลดน้อยลง ในอดีตการทำวัคซีนจึงใช้วิธีการเพราะเลี้ยงไปเรื่อยๆ 30-40 ครั้ง ก็จะได้ไวรัสที่อ่อนฤทธิ์ลง แล้วเอามาทำวัคซีนเช่นการทำวัคซีนโปลิโอชนิดเชื้อเป็น

อย่างไรก็ตามสำหรับไวรัสตัวนี้ยังใหม่เกินไป ที่จะบอกว่า อาการของโรคลดน้อยลงหรือเพิ่มขึ้น จะต้องดูจำนวนผู้ป่วยที่ต้องเข้าโรงพยาบาล ผลการรักษา อัตราการเสียชีวิต ระยะเวลาที่นอนโรงพยาบาล เปรียบเทียบกับสายพันธุ์เดิมที่มีอยู่ เช่นสายพันธุ์ เดลต้า

3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจหาพันธุกรรมในการวินิจฉัยที่เรียกว่า RT-PCR ยังใช้ได้ดีอยู่หรือไม่ แต่จากการที่ได้พิจารณาตามรหัสพันธุกรรม อย่างน้อยการตรวจทางห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่จะใช้ N gene อย่างน้อย 1 ยีนส์ ในตำแหน่งของ N gene เป็นตำแหน่งที่ค่อนข้างคงที่ ไม่มีผลกับการตรวจ แต่อาจจะมีผลต่อการตรวจในยีน RdRp ก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบที่ใช้กันอยู่ ที่ห้องปฏิบัติการของศูนย์ ที่ทำอยู่ขณะนี้เมื่อนำมาเปรียบเทียบ ตามรหัสพันธุกรรมก็พบว่ายังสามารถใช้ได้ดี ส่วนของบริษัทต่างๆก็คงต้องมีการตรวจสอบโดยเฉพาะในส่วนของยีนอื่นที่ไม่ใช่ N ยีนส์

4. การศึกษาตำแหน่งพันธุกรรมที่เปลี่ยนแปลงบนหนามแหลม มีความน่าสนใจมาก ที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างมาก ดังนั้นสิ่งที่จะต้องศึกษาอย่างยิ่งก็คือจะทำให้ประสิทธิภาพของวัคซีนชนิดที่ใช้สไปรท์เพียงตัวเดียวลดลงหรือไม่ เช่นไวรัส Vector และ mRNA การตอบสนองต่อ T และ B เซลล์เป็นอย่างไร ต้องมีการศึกษาอย่างเร่งด่วน เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง